SK Sato SK-5SII เครื่องวัดความเค็ม

SKU
SK-5SII
สินค้าหมด

No.1729-30
สำหรับวัดความเค็มหรือความเข้มข้นของเกลือและอุณหภูมิในอาหาร
ช่วงการวัด 0.1 ถึง 5.0 % salt concentration
หลักการวัด Conductrometry
แบตเตอรี่ LR44 x 3
ยี่ห้อ SK Sato, Japan

ยกเลิกจำหน่าย สินค้ารุ่นใกล้เคียง PAL-SALT

SK Sato SK-5SII เครื่องวัดความเค็มในอาหาร 

เครื่องวัดความเค็มหรือความเข้มข้นของเกลือและอุณหภูมิในอาหาร ใช้งานง่าย มาพร้อมช้อนสำหรับตักตัวอย่างใส่ที่ปลายเซนเซอร์ ตัวเครื่องมีขนาดเล็กพกพาสะดวก 
ใช้หลักการวัดแบบ Conductrometry method ยี่ห้อ SK Sato, Japan

No. 1729-30
Measuring method Conductometry method
Measuring range 0.01 to 5.0% (at 0 to 60°C) for salt concentration
0 to 60°C for temperature
Resolution Salt content: 0.01% (from 0.01 to 0.09%), 0.1% (other range)
Temperature: 0.1°C
Accuracy Salt content: ±0.3% (with salt density 0.01 to 2.0%, 20°C), ±0.3% (other range)
Temperature: ±0.1°C
Power requirement LR44  button cell battery x 4
Materials Display and spoon : ABS resin
Cap: rubber
Dimensions (D)16 x (H)32 x (L)208 mm
Weight approx. 52 g (with battery)
SKUSK-5SII
Weight50.000000
ขนาด16 x 32 x 208 mm
ผู้ผลิตSK Sato
บันทึกข้อมูลไม่
Resolution

0.01 | 0.1%
1 °C

Measurement Range

0.01 to 5.0% (at 0 to 60°C) for salt concentration
0 to 60°C for temperature

ฟังก์ชั่นNo
Power SupplyBattery LR44 x 4
ระดับการป้องกันNo
Sensor Output InterfaceNo
AccuracySalt content: ±0.3% (with salt density 0.01 to 2.0%, 20°C), ±0.3% (other range)
Temperature: ±0.1°C<
คะแนนของคุณ

การตรวจวัดความเค็มของน้ำ (SALINITY)

การตรวจวัดความเค็มของน้ำ (SALINITY) การตรวจวัดความเค็มของน้ำ (SALINITY) การตรวจวัดความเค็ม เป็นการตรวจวัดปริมาณเกลือที่ละลายน้ำที่พบในน้ำเค็มหรือน้ำกร่อย โดยมีหน่วยเป็นส่วนในหนึ่งพันส่วน (ppt ย่อมาจาก part per thousand) ความเค็มของน้ำทะเลของโลกมีค่าเฉลี่ย 35 ppt น้ำจืดมีค่าไม่เกิน 0.5 ppt น้ำกร่อยมีค่า 0.5 – 25 ppt ค่าความเค็มจะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับปริมาณหยาดน้ำฟ้า น้ำจากหิมะละลาย

กินเค็ม โทษมหันต่อสุขภาพ

รสเค็มคืออะไร ? รสเค็ม คือ ธาตุโซเดียมในอาหารซึ่งมีหน้าที่ช่วยรักษาสมดุลของเหลวในร่างกาย ทำให้การทำงานของเส้นประสาทและกล้ามเนื้อเป็นปกติ โดยโซเดียมที่ร่างกายได้รับร้อยละ 90-95% มาจากอาหารที่บริโภค ทั้งพืช และ เนื้อสัตว์ รวมทั้งเครื่องปรุงรส(เค็ม) และอาหารที่มีส่วนประกอบของโซเดียม เช่น ผงชูรส, ผงปรุงรส, ผงฟู, เกลือ, น้ำปลา, ซีอิ๊ว, เต้าเจี้ยว, น้ำมันหอย, เครื่องปรุงรสต่างๆ เป็นต้น